วันพุธที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

แบบฝึกหัดที่ 1 Microsoft Word


แบบฝึกหัดที่ 1
เรื่อง  ความรู้พื้นฐาน Microsoft  Word

คำสั่ง   ให้นักเรียนลอกลงในสมุดและตอบคำถามให้ถูกต้อง
—————————————————————————————–


1. โปรแกรม Microsoft Word จัดเป็นโปรแกรมประเภทใด
          ก.  วาดรูป                                  ข.  พิมพ์เอกสาร
ค.  คำนวณ                                 ง.  จัดรูปแบบเอกสาร

2. ข้อใดเรียงลำดับการเริ่มงาน Word ได้ถูกต้อง
          ก. Start > Programs > Microsoft office > Microsoft Word
          ข. Start > Programs > Microsoft Word > Microsoft office
          ค. Start > Microsoft office > Programs > Microsoft Word
          ง.  Start > Microsoft Word > Programs > Microsoft office

3.  ปุ่ม Start อยู่บนส่วนใด
          ก.  Desktop                              ข.  Taskbar
          ค.  Icon                                    ง.  Title bar

4.  ข้อใดคือความหมายของคำว่าเดสก์ทอป (Desktop)
          ก.  แถบสีเทาที่อยู่ด้านล่างของจอภาพ
          ข.  ใช้บรรจุรายการต่าง ๆ ของวินโดวส์
          ค.  โต๊ะทำงานที่มีอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำงานต่าง ๆ วางอยู่
          ง.   พื้นที่สี่เหลี่ยมที่อยู่มุมล่างด้านซ้ายของจอภาพ
  
5.  ข้อใดคือหน้าที่ของการแถบสถานะ (Status Bar) บนหน้าจอ
     โปรแกรม Microsoft Word 2003
          ก.   แสดงวันที่และเวลาของระบบ
          ข.   แสดงสถานการณ์ใช้งานต่าง ๆ ของโปรแกรม Microsoft
              Word 2003 ในขณะนั้น
          ค.  แสดงชื่อโปรแกรมและชื่อแฟ้มเอกสารที่กำลังเปิดใช้งานอยู่
          ง.  แสดงความกว้างยาวของเอกสาร

6. "Save" เป็นคำสั่งใช้ทำอะไร
          ก.  บันทึกแฟ้มข้อมูล                     ข.  เปิดแฟ้มข้อมูล
          ค.  แก้ไขแฟ้มข้อมูล                      ง.  ลบแฟ้มข้อมูล

7.  ชนิดของแฟ้มข้อมูลที่จัดเก็บใน Microsoft Word จะมีนามสกุล
     เป็นอะไร
          ก.  Word.bmp                                    ข.  Word.txt
          ค.  Word.xls                                         ง.  Word.doc

8.  เมื่อเราแก้ไขเอกสารเสร็จเรียบร้อยแล้ว ถ้าต้องการบันทึกลงดิสก์
      โดยใช้ชื่อแฟ้มใหม่จะต้องใช้คำสั่งใด
          ก.  บันทึก                                            ข.  บันทึกเป็น
          ค.  บันทึกเป็น HTML                              ง.  ถูกทุกข้อ
  
9.  ถ้าหากสามารถบันทึกข้อมูลได้แล้วจะมีสิ่งใดปรากฏให้ทราบ
          ก.  มีข้อความปรากฏบนจอภาพ
          ข.  มีชื่อที่อยู่บนดิสก์
          ค.  มีชื่อไฟล์หรือแฟ้มที่แถบชื่อเรื่อง
          ง.   ไม่มีอะไรแสดงให้รู้ ต้องไปเปิดดูในเครื่องเอง

10.  คำสั่งที่ใช้เปิดแฟ้มข้อมูลใหม่คืออะไร
          ก.  บันทึก                                   ข.  บันทึกเป็น
          ค.  สร้างเอกสารเปล่า                    ง.  เปิด

-----------------------------------------------------------------------------

วันอาทิตย์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

แบบฝึกที่ 3 องค์ประกอบของฐานข้อมูล



แบบฝึกหัดที่ 3
เรื่อง  องค์ประกอบของฐานข้อมูล

คำสั่ง   ให้นักเรียนลอกลงในสมุดและตอบคำถามให้ถูกต้อง
—————————————————————————————–


1.ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับฐานข้อมูล 
ก.การสร้างและการแก้ไขข้อมูล 
ข.การเผยแพร่ข้อมูล 
ค.การจัดเก็บข้อมูล 
ง.การเรียกดูข้อมูล 
2.ข้อใด ไม่ใช่องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล 
ก.Hardware                      ข. Program 
ค.Data                             ง.Database 
3.องค์ประกอบของฐานข้อมูลมีกี่ประเภท 
ก.5 ประเภท                       ข.4 ประเภท 
ค.3 ประเภท                       ง.2 ประเภท 
4.ข้อใด ไม่ใช่ หน้าที่ของการจัดการฐานข้อมูล 
ก.ประสานงานกับระบบปฏิบัติการ 
ข.การเก็บและดูแลข้อมูล 
ค.การควบคุมเครื่อง 
ง.จัดทำพจนานุกรมข้อมูล 
5.ข้อใด ไม่ใช่ หลักการของการจัดการฐานข้อมูล 
ก.ข้อมูลไม่มีความขัดแย้งกัน 
ข.ข้อมูลระหว่างแฟ้มซ้ำซ้อนกันได้ 
ค.ข้อมูลในแฟ้มเดียวกันซ้ำซ้อนกันได้ 
ง.ข้อมูลสามารถใช้ร่วมกันได้ 
6. ข้อใดคือจุดประสงค์ของการจัดการ
ก. ความยุติธรรม                 ข. อัตราตอบสนอง
ค. กระจายการใช้ทรัพยากร    ง. ถูกหมดทุกข้
7. คะแนนสอบ และราคาสินค้า จัดเป็นข้อมูลชนิดใด
ก. Character                     ข. Numeric
ค. String                           ง. Alphabetic
8. ข้อใดที่ไม่ใช่ความสามารถของ DBMS 
ก. การสร้างฐานข้อมูล
ข. ดูแลควบคุมระบบ
ค. เรียกใช้ข้อมูล
ง. ปรับปรุงฐานข้อมูล
9.ข้อใดกล่าวถึงข้อดีของการประมวลผลข้อมูลในฐานข้อมูลที่ถูกต้อง
ก. มีความซ้ำซ้อนของข้อมูล
ข. ความยากในการประมวลผลข้อมูลในแฟ้มข้อมูลหลายแฟ้มข้อมูล
ค. ไม่มีผู้ควบคุมหรือรับผิดชอบระบบ
ง. ข้อมูลมีการเก็บอยู่รวมกันและสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้.
10.ข้อใดที่ไม่ใช่ข้อเสียของการประมวลข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูล
ก. มีความซ้ำซ้อนของข้อมูล
ข. ความยากในการประมวลผลข้อมูลในแฟ้มข้อมูลหลายแฟ้มข้อมูล
ค. มีผู้ควบคุมหรือรับผิดชอบระบบทั้งหมด.
ง. ความขึ้นต่อกันระหว่างโปรแกรมประยุกต์และโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล

แบบฝึกหัดที่ 2 องค์ประกอบฐานข้อมูล


แบบฝึกหัดที่ 2
เรื่อง  องค์ประกอบของฐานข้อมูล
คำสั่ง   ให้นักเรียนลอกลงในสมุดและตอบคำถามให้ถูกต้อง
-----------------------------------------------------------------------------------------

1.   ระบบฐานข้อมูลคืออะไร  จงอธิบาย
------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------
2.   โปรซีเยอร์เป็นองค์ประกอบของฐานข้อมูลอย่างไร
------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------
3.   ฮาร์ดดิสก์  แฟรชไดร์ฟ  อยู่ในองค์ประกอบใดของฐานข้อมูล
------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------
4.  ซอฟต์แวร์ที่ใช้ติดต่อกับฐานข้อมูลเรียกว่าอย่างไร
------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------
5.   จงเขียนข้อดีของระบบฐานข้อมูล
------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------

วันอาทิตย์ที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

วันจันทร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ม. 6 ฐานข้อมูล --แบบฝึกหัดที่ 1--


แบบฝึกหัดที่ 1
เรื่อง  ความรู้พื้นฐานของฐานข้อมูล
คำสั่ง   ให้นักเรียนลอกลงในสมุดและตอบคำถามให้ถูกต้อง
-----------------------------------------------------------------------------------------

1. ฐานข้อมูลคืออะไร

 ก.  การรวบรวมแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ
 ข.  ที่เก็บข้อมูลของลูกค้าและพนักงาน
 ค.  โปรแกรมจัดการเกี่ยวกับชื่อและที่อยู่
 ง.  แฟ้มข้อมูลที่ถูกจัดรูปแบบเพื่อให้ผู้ใช้สามรถถึงข้อมูลมาใช้ร่วมกันได้



2.  เรคคอร์ด (Record) คือข้อใด 
ก.  ชื่อของตาราง
ข.  กลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน
ค.  ชื่อของข้อมูลที่ต้องการจะเก็บในตาราง 
ง.  รายละเอียดของข้อมูลที่ต้องการเก็บในตาราง



3.  ข้อใดเรียงลำดับของหน่วยข้อมูลจากน้อยไปหามากได้ถูกต้อง
ก.  บิท , ไบท์ , ระเบียน , ฟิลด์
ข.  บิท , ไบท์ , แฟ้ม , ระเบียน
ค.  บิท , ระเบียน , แฟ้ม , เขตข้อมูล
ง.  บิท , ไบท์ , เขตข้อมูล , ระเบียน


4.  ข้อใด ไม่ใช่ วัตถุประสงค์ในการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลในงานต่างๆ 

  ก.  เพื่อควบคุมและรักษาความปลอดภัยของข้อมูล 
  ข.  เพื่อให้ผู้ใช้หลายคนสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ 
  ค.  เพื่อสร้างมาตรฐานในการจัดเก็บ และสำรองข้อมูล
  ง.  เพื่อหลีกเลี่ยงความซ้ำซ้อน ความขัดแย้ง หรือความไม่สอดคล้องกันของข้อมูล

  

5.ข้อใดคือความหมายของฐานข้อมูล 
ก. การยืม-คืน หนังสือของห้องสมุดโรงเรียนแห่ง
ข. โรงเรียนแห่งหนึ่งมีนักเรียน 1,500 คน
ค. กนกวรรณมีพี่น้อง 3 คน
ง. วาสนามีอายุ 18 ปี

6.ข้อใด ไม่ใช่ ความสำคัญของการนำฐานข้อมูลมาใช้
ก. ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล
ข. ข้อมูลไม่เป็นอิสระต่อกัน
ค. ข้อมูลถูกต้องเชื่อถือได้
ง. ใช้ข้อมูลร่วมกันได้

7.หน่วยข้อมูลที่มีความหมายต่อผู้ใช้ที่เล็กที่สุดคือข้อใด
ก.  บิต                              ข.  ไบท์
ค.  ฟิลด์                            ง.  เรคคอร์ด

8.กลุ่มฟิลด์ที่มีความสัมพันธ์กันเรียกว่าอะไร
ก.  บิต                              ข.  ไบท์
ค.  ไฟล์                             ง.  เรคอร์ด

9.ข้อมูลสถิติการใช้บริการห้องสมุดเป็นข้อมูลชนิดใด
ก. ข้อมูลรูปภาพ                  ข.  ข้อมูลชนิดตัวเลข
ค.  ข้อมูลชนิดข้อความ          ง.  ข้อมูลที่เป็นรูปแบบ

10. ข้อใดคือความหมายของระบบการจัดการฐานข้อมูล
ก.  ชุดโปรแกรมที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในระบบติดต่อระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูล
ข.  โปรแกรมที่ใช้ในการเข้าถึงข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
ค.  โปรแกรมที่สร้างภาพเคลื่อนไหว
ง.  โปรแกรมที่ใช้ติดต่อกับผู้ใช้

@@@@@@@@@@@@@@@ แบบฝึกหัดที่ !@@@@@@@@@@@@@@@ 







วันจันทร์ที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555


ใบงานที่ 1
เรื่อง  ความชำนาญในการใช้คอมพิวเตอร์
คำสั่ง   ให้นักเรียนทำประวัติส่วนตัว โดยใช้ข้อมูลตามตัวอย่างที่มีให้  พร้อมแทรกรูปตนเอง (ชุดนักเรียนหรือชุดพลศึกษา เห็นหน้าชัดเจน)  ไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ ตกแต่งให้สวยงามตามความรู้ความสามารถของตนเอง
-----------------------------------------------------------------------------------------




ข้อมูลนักเรียน


               ชื่อ……………………………   สกุล  …………………………………

ระดับชั้น  ………………………..…..            เลขที่   …………………

โรงเรียน………………………………………………………………

น้ำหนัก   ………..…  กก.                   ส่วนสูง   ………………  ซม.

วัน/เดือน/ปี เกิด   ………………………………………  อายุ……………ปี

ที่อยู่ปัจจุบัน   ………………………………………………………………

                                    ………………………………………………………………

เบอร์โทรศัพท์  …………………………..  มือถือ  ………………………...

บิดา   ……………………………………   อาชีพ   ……………………….

มารดา   …………………………………   อาชีพ   ……………………….

ความสามารถพิเศษ  ………………………………………………………

คติประจำใจ   ……………………………………………………………….

วิชาที่ชอบ  ………………………… วิชาที่ไม่ชอบ   ……………………..

อยากจะบอก   ………………………………………………………………

………………………………………………………………………………

ม.4 วิชา โปรแกรมประยุกต์


แนวการสอน

ประจำภาคเรียนที่   2                                                                                                       ปีการศึกษา  2555
รหัสวิชา ง 31242
ชื่อวิชา (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)
หน่วยกิต (-)
ระดับชั้นม.4
โปรแกรมประยุกต์
(Application Program)
1(1-0)


อาจารย์ผู้สอนนางสาวพรทิพย์  ทองไพบูลย์
โปรแกรมประยุกต์ (Application Program)
กลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยี (เพิ่มเติม)

คำอธิบายรายวิชา
                  โปรแกรมประยุกต์ (Application Program)  เป็นโปรแกรมที่อยู่ในตระกูล Microsoft  ประกอบด้วยโปรแกรมพื้นฐาน  โปรแกรมคือ 
Microsoft  Word   (ไมโครซอฟต์เวิร์ด หรือเรียกสั้นๆ ว่า เวิร์ด”) เป็นโปรแกรมที่นิยมนำมาใช้สร้างจดหมาย  รายงาน  บันทึกข้อมูล  และตารางข้อมูล  นอกจากนี้ยังมีความสามารถในการจัดการกับเอกสารพิเศษในรูปแบบอื่นๆ เช่น  เว็บเพจ  โบชัวร์ และสร้างเอกสารแบบ HTML  หรือ XML  สำหรับขึ้นเว็บ  ด้วยความสามารถรอบตัว  ใช้งานง่าย  ประกอบกับมีเครื่องมืออำนวยความสะดวกในการจัดรูปแบบเอกสารมากมาย  จึงทำให้ไมโครซอฟต์เวิร์ดเป็นโปรแกรมประจำสำนักงานและประจำบ้านที่นิยมมาก
                Microsoft  Excel (ไมโครซอฟต์เอ็กเซลเป็นโปรแกรมแบบ สเปรดชีส (spreadsheet)  หรือตารางคำนวณอิเล็กทรอนิคส์  ที่ใช้เก็บบันทึกข้อมูลในลักษณะต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่มักจะนิยมเก็บข้อมูลตัวเลขที่เกี่ยวกับการคำนวณหรือวิเคราะห์  โดยจะเก็บข้อมูลลงในตารางสี่เหลี่ยมเล็กๆ ที่เรียกว่า เซลล์ cell  ที่สามารถนำเอาเซลลมาอ้างอิงใส่ในสูตร  เพื่อให้โปรแกรมคำนวณหาผลลัพท์จากข้อมูลที่บันทึกไว้ออกมาได้อัตโนมัติ  เช่น  บันทึกยอดขายของพนักงานขายทุกคนไว้  แล้วให้โปรแกรมหาผลรวมของยอดขายทั้งหมดออกมา
              Microsoft  PowerPoint (ไมโครซอฟต์เพาเวอร์พอยต์)    เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการจัดทำสไลด์เพื่อนำไปเสนอหรือฉายให้บุคคลทั่วไปดู  ในปัจจุบันโปรแกรม  PowerPoint  ได้เข้ามามีบทบาทกับการนำเสนอเป็นอย่างมากไม่ว่าจะใช้  นำเสนอ  การประชุม  สัมมนา  ตลอดจนถึงแวดวงการศึกษาก็นำมาใช้อย่างแพร่หลาย ใช้เป็นสื่อช่วยสอน   นักเรียนก็สามารถนำมาใช้นำเสนองานกับครู   จุดเด่นของโปรแกรมก็คือ  สามารถสร้างงานที่จะนำเสนอได้อย่างง่ายดาย  สามารถใส่ภาพ  เสียง  ตลอดจนภาพเคลื่อนไหวในลักษณะวิดีโอลงในสไลด์  เรียกได้ว่าเป็ฯสื่อที่นำเสนอแบบมัลติมีเดีย  ทำให้สื่อนำเสนอน่าชม  น่าฟัง  และน่าติดตามมากขึ้น

สาระการเรียนรู้


จุดประสงค์
เนื้อหา
จำนวนคาบ
หมายเหตุ

Microsoft  Word



1
การสร้างเอกสารใหม่
1

2
การจัดรูปแบบตัวอักษรและการกำหนดขนาด
1

3
การจัดวางตำแหน่งของข้อความ
1

4
การจัดรูปแบบกรอบข้อความ  การทำขอบกระดาษ 
1

5
การกำหนด Tab
1

6
การใส่สัญลักษณ์   เลขลำดับและบุลเล็ต
1

7
การแบ่งสดมภ์และแบ่งขึ้นหน้าใหม่
1

8
การจัดการข้อความกับรูปภาพ และวาดภาพประกอบ
1

9
การสร้างและจัดรูปแบบตาราง
2

10
การสร้างเว็บเพจด้วย Word
2


Microsoft Excel



11
การเรียกใช้โปรแกรมและส่วนประกอบ
1

12
แถบเครื่องมือ
1

13
การจัดการสมุดงาน(Workbook)
1

14
การสร้างกระดาษทำการและการคำนวณอัตโนมัติ
2

15
สูตรการคำนวณ
2


สอบกลางภาคเรียน
1

16
การป้อนสูตรและสูตรแบกลุ่ม
1

17
การจัดการเกี่ยวกับเซลล์
1

18
การจัดรูปแบบกระดาษทำการ
1

19
การใช้ฟังก์ชัน
1

20
การใช้ฟังก์ชัน IF และ SumIF
1

21
การสร้างแผนภูมิและจัดรูปแบบแผนภูมิ
2


Microsoft PowerPoint



22
การเข้าโปรแกรมและส่วนประกอบ
1

23
แถบเครื่องมือต่างๆ
1

24
มุมมองแบบต่างๆ และการบันทึกงาน
1

25
การสร้างและตกแต่งสไลด์
2

26
การจัดรูปแบบสไลด์
1

27
การตกแต่งสไลด์ด้วยภาพและเสียง
1

28
การใส่เอฟเฟ็คต์เคลื่อนไหว
2

29
การจัดทำเอกสารประกอบการนำเสนอ
2

30
การนำเสนอสไลด์
1


สอบปลายภาคเรียน
1


รวม
40

 การวัดผลและการประเมินผล


1.              การวัดผล
1.1   คะแนนระหว่างภาคการเรียน                                                 (ร้อยละ 70)
-                   งานกลุ่ม                                (ร้อยละ  20)
รายงาน                 
ชิ้นงาน                 
-                   แบบทดสอบ                         (ร้อยละ  10)
-                   งานส่วนบุคคล                     (ร้อยละ  25)
ใบงาน  
ชิ้นงาน 
-                   ลักษณะการเรียน                 (ร้อยละ  5)
ความตรงต่อเวลา                 ความตั้งใจเรียน
ความรับผิดชอบ                                   ความมีระเบียบวินัย
การทำงานร่วมกับผู้อื่น     
-                   สอบกลางภาคเรียน            (ร้อยละ  10)
1.2   คะแนนสอบปลายภาคเรียน                                              (ร้อยละ 30)

2.              การประเมินผล  ตามเกณฑ์ดังนี้
คะแนน                                                            เกรด
80-100                                                              4.0
75 - 79                                                              3.5
70 – 74                                                             3.0
65 – 69                                                            2.5
60 – 64                                                            2.0
                                              55 – 59                                                           1.5
50 - 54                                                            1.0
0   - 49                                                             0